ANZ Business Confidence ของนิวซีแลนด์ และ BOJ Policy Rate ของ BOJ ค่าเงิน NZD และ JPY มีความผันผวนแรงแน่นอน

ANZ Business Confidence ของนิวซีแลนด์ และ BOJ Policy Rate ของ BOJ ค่าเงิน NZD และ JPY มีความผันผวนแรงแน่นอน

อัปเดทแล้ว • 2019-11-11

วันนี้ 31 กรกฎาคม 2018 มีการประกาศที่สำคัญอย่างมากหลายการประกาศไม่ว่าจะเป็นทางของประเทศนิวซีแลนด์และของธนาคารกลางญี่ปุ่นซึ่งจะมีการประกาศในช่วงเวลาดังนี้

Screen Shot 2561-07-31 at 13.04.45.png

ซึ่งในช่วงเช้าจะเป็นการประกาศของประเทศนิวซีแลนด์คือ ANZ Business Confidence  หรือเรียกว่าการรายงานความเชื่อมั่นจากกลุ่มธนาคาร ANZ ของประเทศนิวซีแลนด์ซึ่งนักลงทุนยังดูมุมมองของความเชื่อมั่นจากกลุ่มธนาคารนี้ ซึ่งมีการประกาศออกมาก็คือ -44.9 ซึ่งครั้งก่อนก็คือ -39.0 ซึ่งประกาศออกมาทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีการอ่อนค่าลงเล็กน้อยหรือแม้ว่าจะมีการประกาศออกมาแย่ก็ตาม

และอีกหนึ่งการประกาศที่สำคัญก็คือการประกาศ BOJ Policy Rate หรือเรียกว่าการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางญี่ปุ่นโดยการประกาศในครั้งนี้นักลงทุนและนักลงทุนตลาดเงินได้จับตามองอย่างใกล้ชิดเนื่องจากว่าได้คาดหวังเกี่ยวกับการปรับนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางญี่ปุ่น แต่ธนาคารกลางญี่ปุ่นกลับประกาศออกมาว่ายังคงมาตรการผ่อนคลายทางการเงินอยู่เหมือนเดิมและยังคงติดตามในส่วนของภาวะของตลาดเงินของญี่ปุ่นซึ่งยังคงอัตราดอกเบี้ยที่ -1.0% และในการประกาศในครั้งนี้ก็จะมีการแถลงการณ์เกี่ยวกับการแถลงของผู้ว่าการธนาคารกลางญี่ปุ่นซึ่งจะมีการแถลงในช่วงเวลา ประมาณ 13:30 น. ซึ่งจะแถลงในวันนี้อย่างไรก็ตามนักลงทุนและนักลงทุนตลาดเงินก็จับตามองเช่นเดียวกันจากการที่มีการประกาศคง นโยบายทางการเงินของธนาคารกลางญี่ปุ่น ทำให้สกุลเงินเยน มีการอ่อนค่าอย่างรุนแรงและยังคงอาจจะมีการอ่อนค่าอย่างต่อเนื่องเกือบทุกคู่เงินในตอนนี้

Screen Shot 2561-07-31 at 13.06.02.png

คู่สกุลเงินที่น่าติดตามของสกุลเงินนิวซีแลนด์ก็คือ NZDUSD ซึ่งคู่สกุลเงินนี้ยังอยู่ในทิศทางขาขึ้นในระยะสั้นถึงแม้ว่าความผันผวนจากสกุลเงินนิวซีแลนด์จะมีความผันผวนอย่างมากก็ตามอย่างไรก็ตามควรติดตามในมุมมองของกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญถ้าเกิดว่ากรอบแนวรับที่สำคัญมีความผันผวนแนะนำควรติดตามใน 0.68119 ซึ่งเป็นกรอบแนวรับแรกและถ้าเกิดว่ามีความรุนแรงมากขึ้นผลติดตามในแนวรับที่สองที่สำคัญอย่างมากก็คือ 007965 และควรติดตามในมุมมองของกรอบแนวรับที่สามที่สำคัญก็คือ 0.67888 แต่ถ้าเกิดว่ามีการกลับตัวควรติดตามกรอบแนวต้านที่สำคัญก็คือ 0.68307 และแนะนำถ้าเกิดมีความรุนแรงมากขึ้นควรติดตามกรอบแนวต้านที่สองก็คือ 0.68469 ซึ่งควรติดตามกรอบแนวต้านที่สามที่สำคัญเช่นเดียวกันก็คือ 0.68561 ซึ่งเป็นกรอบแนวต้านที่สำคัญอย่างมาก

Screen Shot 2561-07-31 at 13.05.22.png

อีกหนึ่งคู่เงินที่น่าจับตามองก็คือ EURJPY ซึ่งคู่เงินนี้มีความผันผวนมาจากการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางญี่ปุ่นรวมทั้งนโยบายทางการเงินที่ธนาคารกลางญี่ปุ่นยังคงมาตรการผ่อนคลายทางการเงินเหมือนเดิม จึงทำให้คู่สกุลเงินนี้มีการดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องและอาจจะมีการดีดตัวขยับขึ้นไปเนื่องจากว่ารในส่วนของการแถลงการณ์ของธนาคารกลางญี่ปุ่นโดยผู้ว่าการธนาคารกลางซึ่งจะมีการแถลงการณ์ในวันนี้เวลา 13:30 น. ซึ่งถ้าเกิดว่าการแถลงการณ์ยังออกไปในทิศทางที่ทำให้สกุลเงินเยน มีการอ่อนค่าต่อไปนั้นควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญโดยให้กรอบแนวด้านที่สำคัญแรกไว้ตอนนี้ก็คือ 130.385 ซึ่งควรติดตามกรอบแนวต้านที่สามที่สำคัญอย่างมากเช่นเดียวกันก็คือ 130.649 และแนะนำว่าควรติดตามกรอบแนวต้านที่สามที่สำคัญอย่างมากเจอกันก็คือ 130.049 อย่างไรก็ตามถ้าเกิดว่ามีการปรับตัวและมีการกล่าวออกมาในทิศทางที่ดีของผู้ว่าการธนาคารกลางญี่ปุ่นอาจจะไปถึงกรอบแนวรับที่หนึ่งที่สำคัญก็คือ 129.806 และแนะนำควรจะตามกรอบแนวรับที่สองและที่สามที่สำคัญอย่างมากจะด้วยกันก็คือ 129.700 และ 129.504 ซึ่งเป็นกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญในรอบนี้

อย่างไรก็ตามควรติดตามในมุมมองของกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญเนื่องจากว่าทางสกุลเงินนิวซีแลนด์และสกุลเงินเยนเดี๋ยวมีความผันผวนอยู่โดยเฉพาะการแถลงการณ์เกี่ยวกับการปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางญี่ปุ่นที่ยังมี การแถลงการณ์อยู่ในตอนนี้จึงควรติดตามอย่างใกล้ชิด

คล้ายกัน

PMI ภาคการผลิตยูโรโซน
PMI ภาคการผลิตยูโรโซน

โดยการคาดหวังในครั้งนี้นักวิเคราะห์ได้มีการคาดการณ์ในหลายปัจจัยไม่ว่าจะเป็นทั้งดัชนีพีเอ็มไอภาคการผลิตของเยอรมนีประจำ เดือนสิงหาคมนักวิเคราะห์

GBP/JPY : ฟื้นตัวได้จากตลาดหุ้น Nikkei
GBP/JPY : ฟื้นตัวได้จากตลาดหุ้น Nikkei

ในส่วนของสกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังมีการปรับตัวฟื้นตัวขึ้นในระยะสั้นหลังจากที่ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูง

GDP สหรัฐที่สำคัญ
GDP สหรัฐที่สำคัญ

ในช่วงเวลา 19:30 น. ในวันที่ 26 สิงหาคม 2021 จะมีการประกาศดัชนีจีดีพีของสหรัฐอเมริกาประจำไตรมาสที่สองซึ่งนักลงทุนต่าง

ข่าวล่าสุด

NASDAQ มีโอกาสลงต่อได้ ถ้าราคาสามารถเคลื่อนที่ลงไปถึง 17,700 จุด ได้
NASDAQ มีโอกาสลงต่อได้ ถ้าราคาสามารถเคลื่อนที่ลงไปถึง 17,700 จุด ได้

ก่อนหน้านี้ เรามีการประเมินว่า ให้รอเข้าเทรด BUY NASDAQ (US500) ที่ระดับ 17,200 จุด โดยสามารถตั้งจุด TP ได้ที่บริเวณ 19,300 จุด และตั้งจุด SL

ฝากเงินกับระบบการชำระเงินในประเทศของคุณ

ประกาศการเก็บรวบรวมข้อมูล

FBS เก็บรักษาข้อมูลของคุณไว้เพื่อใช้งานเว็บไซต์นี้ เมื่อกดปุ่ม "ยอมรับ" ถือว่าคุณยอมรับ นโยบายความเป็นส่วนตัว ของเรา

โทรกลับ

ผู้จัดการของเราจะโทรหาคุณในเร็ว ๆ นี้

เปลี่ยนเบอร์โทรศัพท์

เราได้รับคำร้องของคุณแล้ว

ผู้จัดการของเราจะโทรหาคุณในเร็ว ๆ นี้

คำขอโทรกลับครั้งต่อไปสำหรับหมายเลขโทรศัพท์นี้
จะพร้อมใช้งานใน

หากคุณมีปัญหาเร่งด่วนโปรดติดต่อเราผ่านทาง
สนทนาออนไลน์

เกิดข้อผิดพลาดภายใน กรุณาลองใหม่อีกครั้งในภายหลัง

อย่ามัวเสียเวลา - ติดตามดูว่า NFP ส่งผลกระทบอย่างไร ต่อ USD แล้วทำกำไรเลยสิ!

คุณกำลังใช้เบราว์เซอร์เวอร์ชันเก่ากว่านี้

อัปเดตเป็นเวอร์ชันล่าสุดหรือลองใช้เพื่อการเทรดที่สะดวกสบายและมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น

Safari Chrome Firefox Opera